ปรับกลยุทธ์ Global Aggressive Hybrid: Next Generation of Global Aggressive Hybrid

นับจากออกพอร์ต Global Aggressive Hybrid ณ วันที่ 23-เมษายน-2019  เป็นวันเวลาเกือบ 3 ปี ถึงเวลาปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ของพอร์ต เนื่องจากเวลานี้กองทุนไทยมีกองทุนที่หลากหลายมากขึ้น โดยเฉพาะมีการนำ ETF เข้ามามาก ทำให้นักลงทุนไทยมีทางเลือกมากขึ้น

1. เปรียบเทียบกลยุทธ์แบบ ปัจจุบัน vs แบบใหม่

ปรับกลยุทธ์ Global Aggressive Hybrid: New Version of Global Aggressive Hybrid

Key หลักที่จะเปลี่ยนจาก สามารถลงทุนหุ้นได้เต็ม 100% และจะเลือกสามารถเลือกกองทุนแบบ Sector และโดยเฉพาะ Thematic ได้

2. กลยุทธ์แบบ Momentum

อะไรคือความหมายของ กลยุทธ์แบบ Momentum

  • กลยุทธ์ Price Momentum : ซื้อหุ้นที่มีผลตอบแทน 6 เดือนย้อนหลังสูงสุด 30 เปอร์เซ็นไทล์แรก โดยมีการปรับพอร์ตโฟลิโอทุกๆ 6 เดือน โดยแนวคิดหลักของกลยุทธ์การลงทุนนี้คือการคำนวนค่า Momentum ของหุ้นแต่ละตัวในเชิงเปรียบเทียบหรือที่เรียกว่า Relative Momentum และเลือกลงทุนในกลุ่มหุ้นที่มีผลตอบแทนย้อนหลังสูงสุด
  • กลยุทธ์ Industry Momentum : ซื้อหุ้นที่อยู่ในกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีผลตอบแทนย้อนหลัง 1 ปีสูงสุด 30 เปอร์เซ็นไทล์แรก (ในกรณีตลาดหุ้นไทยเรามีกลุ่มอุตสาหกรรมทั้งหมด 8 กลุ่มตามการแบ่งของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย) โดยมีการปรับพอร์ตโฟลิโอทุกๆ 1 ปี ซึ่งแนวคิดนี้คือการคำนวนค่า Momentum ในเชิงเปรียบเทียบตามกลุ่มอุตสาหกรรม (Relative Industry Momentum) และเลือกลงทุนเฉพาะหุ้นที่อยู่ในกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีผลตอบแทนย้อนหลังสูงสุด
  • กลยุทธ์ 52 Week High : ซื้อหุ้นที่ราคา 1 เดือนก่อนหน้านี้ใกล้เคียงราคาสูงสุดในรอบ 52 สัปดาห์ที่ผ่านมามากที่สุดโดยมีการปรับพอร์ตโฟลิโอทุกๆ 1 ปี โดยแนวคิดของกลยุทธ์นี้คือการยึดระยะทางจากจุดสูงสุดในรอบ 52 สัปดาห์ของหุ้นแต่ละตัวเป็นตัวชี้วัด Momentum หรือที่เรียกว่า Absolute Momentum และเลือกลงทุนในหุ้นที่ราคาอยู่ใกล้จุดสูงสุด 52 สัปดาห์ของปีที่ผ่านมามากที่สุด

** จากหนังสือ Quantitative Momentum แปลโดย www.siamquant.com

การนิยามปัจจัย Momentum ในการลงทุนนั้นถูกแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบหลักๆนั่นก็คือ

  • Relative Momentum หรือเรียกอีกอย่างว่า Cross-Sectional Momentum
  • Absolute Momentum หรือเรียกอีกอย่างว่า Time-Series Momentum

ในกรณีของ Cross-Sectional Momentum ลองจินตนาการว่าเรากำลังนำหุ้นทุกตัวใน Universe การลงทุนของเรา ณ เวลาใดเวลาหนึ่งมาทำการจัดลำดับเปรียบเทียบกัน โดยส่วนมากนักลงทุนมักนำอัตราการเปลี่ยนแปลงของราคาในช่วงเวลาที่กำหนด (Rate of Change) มาใช้เป็นมาตราในการเปรียบเทียบ ยกตัวอย่างเช่นในกรณีของการคำนวนค่า Relative Strength

อย่างไรก็ตามการวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบแบบนี้ อาจทำให้เกิดกรณีที่หุ้นที่อยู่ในลำดับต้นๆของการจัดอันดับ Cross-Sectional Momentum นั้นมีความเป็นไปได้ที่จะมีผลตอบแทนที่ติดลบก็เป็นได้ โดยเฉพาะในกรณีวิกฤติเศรษฐกิจที่หุ้นโดยมากทั้งตลาดนั้นมีการปรับตัวลดลงอย่างรุนแรง

ส่วน Time-Series Momentum นั้นจะเป็นการวิเคราะห์ Momentum โดยการมองไปที่ข้อมูลราคาในอดีตของหุ้นแต่ละตัวที่เราทำการวิเคราะห์ (ไม่ได้มองเพียงแค่จุดเดียวของเวลาแบบกรณีของ Cross-Sectional Momentum) โดยในกรณีนี้เราจะใช้จุดใดจุดหนึ่งของราคาในอดีตมาเป็นจุดชี้วัด ซึ่งหนึ่งในจุดชี้วัดที่ได้รับความนิยมเป็นสากลคือจุดสูงสุดในรอบ 1 ปีหรือ 52 Week High ที่เราคุ้นเคยกันดีนั่นเอง

** จากหนังสือ Quantitative Momentum แปลโดย www.siamquant.com

Global Aggressive Momentum จะใช้กลยุทธ์แบบ Relative Momentum เลือกกองทุนที่เป็นผู้นำ และมีการกระจายความเสี่ยงในหลากหลายสินทรัพย์  

3. Methodology

 

 

ปรับกลยุทธ์ Global Aggressive Hybrid: New Version of Global Aggressive Hybrid

Momentum Screen

คัดเลือกและจัดทำ rank กลุ่มประเทศ หรือ sector ด้วย momentum ผ่าน ETF เพื่อหาแนวโน้นผู้ชนะ

การ ranking ไม่ได้ใช้แค่  Relative Momentum แต่มีการให้น้ำหนักต่อ Volatility ด้วยแม้ Relative Momentum ดี แต่ถ้า Volatility มาก ก็อาจจะได้ Rank ที่ดีได้

 

ปรับกลยุทธ์ Global Aggressive Hybrid: New Version of Global Aggressive Hybrid

จาก www.etfreplay.com

ประเทศที่ยังเป็น Momentum Leader คือ S&P500 ของอเมริกา และ VNM ของเวียดนาม

ตัวอย่าง Thematic/Sector Momentum Screen

ปรับกลยุทธ์ Global Aggressive Hybrid: New Version of Global Aggressive Hybrid

จาก www.etfreplay.com

Sector/Thematic ที่ยังเป็น Momentum Leader คือ

  • SMH คือ thematic ของ Semiconductor
  • ESPO คือ thematic ของ GAME
  • IXN คือ Sector ของกลุ่ม Technology
  • RXI คือ Sector ของกลุ่ม Consumer Discretionary

Fundamental

นำ Top 5 แต่ละส่วนมาดู ปัจจัยพื้นฐาน เช่น  PE โดยเฉพาะ การเติบโตของกำไร  และ inflow

Fund Selection

นำข้อมูลที่ได้ มาเลือกกองทุนในไทยที่ใกล้เคียงกับ ETF ต่างประเทศที่สุด   โดยจะพิจารณาการทำ Rotation ทุกๆ 3 เดือน

4. กลยุทธ์การจัดพอร์ตการลงทุน

ปรับกลยุทธ์ Global Aggressive Hybrid: New Version of Global Aggressive Hybrid

Key ของกลยุทธ์แบบ Global Aggressive Hybrid แบบใหม่

ปรับกลยุทธ์ Global Aggressive Hybrid: New Version of Global Aggressive Hybrid

5. ผลทดสอบ Port Model ย้อนหลัง

Core 40% และใช้ Satellite แบบ Global 20% ถือ 2 ตัว และ Thematic40% ถือ 3 ตัว

ปรับกลยุทธ์ Global Aggressive Hybrid: New Version of Global Aggressive Hybrid

ปรับกลยุทธ์ Global Aggressive Hybrid: New Version of Global Aggressive Hybrid

ปรับกลยุทธ์ Global Aggressive Hybrid: New Version of Global Aggressive Hybrid

จาก www.etfreplay.com

** การทดสอบจะทดสอบโดยใช้ ETF เป็นหลัก โดยจะทำการ Rotation ส่วนของ Satellite ทุก 3 เดือน โดยทั้งหมดจะถือ 7 ตัว   จะหา ETF ที่มี กองทุนในประเทศนำมาเป็น feeder fund โดยพยายามหาให้ใกล้เคียงที่สุด ผลการทดสอบจะไม่หักค่าธรรมเนียมใดๆ

Core 40% และใช้ Satellite แบบ Thematic60% ถือ 4 ตัว

ปรับกลยุทธ์ Global Aggressive Hybrid: New Version of Global Aggressive Hybrid

ปรับกลยุทธ์ Global Aggressive Hybrid: New Version of Global Aggressive Hybrid

ปรับกลยุทธ์ Global Aggressive Hybrid: New Version of Global Aggressive Hybrid

จาก www.etfreplay.com

** การทดสอบจะทดสอบโดยใช้ ETF เป็นหลัก โดยจะทำการ Rotation ส่วนของ Satellite ทุก 3 เดือน โดยทั้งหมดจะถือ 6 ตัว   จะหา ETF ที่มี กองทุนในประเทศนำมาเป็น feeder fund โดยพยายามหาให้ใกล้เคียงที่สุด ผลการทดสอบจะไม่หักค่าธรรมเนียมใดๆ

Core 40% และใช้ Satellite แบบ Thematic และสินทรัพย์อื่นเช่น ทองคำ เงินสด รวม 60%

การทดสอบแตกต่างจากการทดสอบก่อนหน้านั้น คือ เพิ่มทองคำ และเงินสด เพื่อจะลดความผันผวน และ ลด Drawdown ถ้าเกิดวิกฤต

ปรับกลยุทธ์ Global Aggressive Hybrid: New Version of Global Aggressive Hybrid

ปรับกลยุทธ์ Global Aggressive Hybrid: New Version of Global Aggressive Hybrid

ปรับกลยุทธ์ Global Aggressive Hybrid: New Version of Global Aggressive Hybrid

จาก www.etfreplay.com

จากผลทดสอบ  แม้ผลตอบแทนต่อปีอยู่ 15.8% จะน้อยกว่า ผลทดสอบกรณีที่ 2 อยู่ที่ 16.9% แต่จะเห็นว่า ความผันผวนอยู่ที่ 16.4% น้อยกว่า ผลทดสอบกรณีที่ 2 อยู่ที่ 17.8%   ดังนั้นการเพิ่ม เงินสดและทองคำใน Thematic Satellite จะช่วยลดความผันผวนและ Draw Down ได้จริง

** การทดสอบจะทดสอบโดยใช้ ETF เป็นหลัก โดยจะทำการ Rotation ส่วนของ Satellite ทุก 3 เดือน โดยทั้งหมดจะถือ 6 ตัว   จะหา ETF ที่มี กองทุนในประเทศนำมาเป็น feeder fund โดยพยายามหาให้ใกล้เคียงที่สุด ผลการทดสอบจะไม่หักค่าธรรมเนียมใดๆ

6. Risk and Reward ของพอร์ต

Reward มีโอกาสได้ Alpha เพื่อชนะ ดัชนี MSCI World Index ในระยะยาว

Risk มีความผันผวนเทียบเท่าหรือมากกว่า ดัชนี MSCI World Index และมีโอกาสเจอกับ Max Draw Down เกิน -15% สภาวะตลาดผันผวนเกิดวิกฤต เนื่องจากใช้ momentum เป็นตัวกรองดังนั้นก็มีโอกาสที่ momentum จะเปลี่ยนทิศทางได้ ระดับความเสี่ยงอยู่ที่ 6

ปรับกลยุทธ์ Global Aggressive Hybrid: New Version of Global Aggressive Hybrid

WealthGuru

*สนใจลงทุนในพอร์ต Global Aggressive Hybrid พอร์ตกองทุนที่จัดโดย WealthGuru ซึ่งลงทุนในสินทรัพย์ทั่วโลก ทั้งเชิงรุกและเชิงรับ เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการให้เงินสร้างความมั่งคั่งในอนาคต สามารถสร้างแผนได้ที่นี่ https://www.finnomena.com/guruport-wealthguru-hybrid-create/

โปรดทราบ สำหรับลูกค้าฟินโนมีนาที่ลงทุนใน FINNOMENA PORT และได้รับบทความนี้ แต่ยังไม่ได้รับอีเมลและ/หรือ Notification ในการแจ้งสัดส่วนเงินในการเข้าลงทุน อาจเกิดจาก

1) ท่านอยู่ระหว่างการทำรายการซื้อขายกองทุน ซึ่งทางฟินโนมีนาจะแจ้งเตือนอีกครั้งภายใน 1 สัปดาห์หลังจากการทำรายการซื้อขายเสร็จสิ้น
2) ท่านมีจำนวนเงินลงทุนต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำที่แนะนำ

หมายเหตุ หากท่านไม่ประสงค์ที่จะรอรับการแจ้งเตือน ท่านสามารถดูรายละเอียดของพอร์ตการลงทุนที่แนะนำผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชั่นของฟินโนมีนาพร้อมปรับพอร์ตเข้าลงทุนได้ทันที สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ LINE ID: @FINNOMENAPORT

คำเตือน

ผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลสำคัญของกองทุนโดยเฉพาะนโยบายกองทุน ความเสี่ยง และผลการดำเนินงานของกองทุน โดยสามารถขอข้อมูลจากผู้แนะนำก่อนตัดสินใจลงทุน | ผลการดำเนินงานในอดีต และผลการเปรียบเทียบผลการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ในตลาดทุน มิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลการดำเนินงานในอนาคต | ผู้ลงทุนอาจมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากการป้องกันความเสี่ยงขึ้นอยู่กับดุลพินิจของผู้จัดการกองทุน | สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมหรือขอรับหนังสือชี้ชวนได้ที่บริษัทหลักทรัพย์นายหน้าซื้อขายหน่วยลงทุน ฟินโนมีนา จำกัด ในช่วงเวลาวันทำการตั้งแต่ 09:00-17:00 น. ที่หมายเลขโทรศัพท์ 02 026 5100 และทาง LINE “@FINNOMENAPORT”

TSF2024