นักลงทุนหลายคนน่าจะกำลังกั งวลว่าหากธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) ขึ้นดอกเบี้ยในปีนี้อีกหลายรอบ จะทำให้ทองคำเป็นขาลงเลยแน่ๆ และล่าสุดผลการประชุม FOMC (การประชุมของเฟด) ได้ข้อสรุปว่าเฟดประกาศขึ้ นดอกเบี้ย 0.25% และปีนี้น่าจะขึ้นดอกเบี้ยได้อี ก 6 ครั้ง เพราะเศรษฐกิจสหรัฐฯเติบโตอย่ างแข็งแกร่ง ในตอนนั้นตลาดการเงินผันผวนทั่ วโลก โดยเฉพาะทองคำ ที่ร่วงลงไปทดสอบ 1900$ เล่นเอานักลงทุนทองคำตกใจกั นไปตามๆกัน แต่อินเตอร์โกลด์เรามองว่าเป็ นเรื่องปกติมากๆ ที่เฟดจะพูดว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯนั้ นแข็งแกร่ง เพราะสิ่งที่เฟดต้องทำมากที่สุ ดในเวลานี้คือการให้ความเชื่อมั่ นแก่ดอลลาร์ หลายครั้งที่คำพูดของเฟดก็ดู จะไม่ค่อยเป็นความจริงเท่าไหร่ เช่น ปีที่แล้วเฟดบอกตลอดว่าเงินเฟ้ อไม่ได้รุนแรงอะไร แต่พอถึงเวลาจริงๆ ปรากฏว่าเงินเฟ้อพุ่งสูงสุ ดในรอบ 40 ปี คือเฟดเค้ารู้อยู่แก่ใจนั่ นแหละเพียงแต่เค้าไม่อยากจะพู ดความจริง บางครั้งการพูดความจริงก็ไม่ได้ ทำให้อะไรดีขึ้นหรืออาจแย่ลงด้ วยซ้ำ
วันนี้อินเตอร์โกลด์จะมาเล่าให้ ฟัง ถึงแนวโน้มการขึ้นดอกเบี้ยในปี นี้ของเฟดจะเกิดขึ้นตามที่เฟดพู ดจริงหรือไม่ เชื่อว่าหากเป็นนักลงทุน ไม่ว่าจะลงทุนในตราสารอะไรก็แล้ วแต่ หากได้อ่านจนจบคิดว่าจะเป็ นประโยชน์และนำไปต่ อยอดในการลงทุนของตัวเองได้อย่ างแน่นอน..
จากรูป แท่งสีเทาแสดงถึงปริมาณการใช้ เงินของรัฐบาลเทียบกับ GDP
เส้นสีส้มแสดงอัตราดอกเบี้ ยของพันธบัตรอายุ 3 เดือน
เส้นสีฟ้าแสดงปริมาณเงินดอลลาร์ ในระบบเทียบกับ GDP
จากรูปแสดงเงินเฟ้อสหรัฐในอดีต
จากรูปเราจะเห็นว่าเมื่อไหร่ก็ ตามที่รัฐบาลตามการใช้เงินอัดฉี ดเยอะๆ ระดับที่ขาดดุลเกิน 7.5% ของ GDP เฟดมักจะไม่อยากขึ้นดอกเบี้ย โดยไม่สนว่าเงินเฟ้อจะสูงเพี ยงใด ในปี 1935-1950 เป็นช่วงที่เงินเฟ้อ
สูงมากๆ โดยขึ้นไปสูงสุดที่ระดับ 14% ต่อปีเลยทีเดียว ขณะเดียวกันเราจะเห็นว่าในปี 1944 เป็นช่วงที่รัฐบาลขาดดุลมหาศาล และในตอนนั้นเฟดต้องเลือกว่ าจะขึ้นดอกเบี้ยเพื่อต่อต้านเงิ นเฟ้อดีหรือไม่ ผลลัพธ์ก็คือเฟดเลือกที่จะทำ Yield curve control เพื่อหลีกเลี่ยงการผิดนั ดชำระหนี้ของรัฐบาลนั่นเอง เนื่องจากรัฐต้องใช้เงิ นจำนวนมาก ก็คือต้องกู้เงินจำนวนมากนั่ นแหละ แล้วเฟดจะไปขึ้นดอกเบี้ยให้ลู กหนี้หรือรัฐบาลตัวเองจ่ายหนี้ ไม่ไหวได้อย่างไร
แต่ในทางกลับกัน ช่วงปี 1977 เงินเฟ้อสูงระดับ 13% เช่นกัน แต่ในตอนนั้นรัฐบาลไม่ได้ขาดดุ ลมากเท่าไหร่เมื่อเทียบกับ GDP ในตอนนั้นเราจะเห็นว่าเฟดขึ้ นดอกเบี้ยจนอยู่ในระดับ 15% ต่อปี เพื่อต่อต้านเงินเฟ้อ
โดยสรุปก็คือเฟดจะขึ้นดอกเบี้ ยได้เยอะๆก็ต่อเมื่อรัฐบาลขาดดุ ลไม่เกิน 7.5% เทียบกับ GDP หรือพูดง่ายๆก็คือรัฐไม่ได้มี รายจ่ายเยอะเกินไปเมื่อเทียบกั บรายรับ ซึ่งคราวนี้เราลองมาวิเคราะห์กั นต่อว่ารัฐบาลสหรัฐฯมีแนวโน้มที่ จะต้องใช้เงินปริมาณมากๆหรือไม่ ในอนาคต
ทุกวันนี้อินเตอร์โกลด์มองว่ าโลกของเราจะไม่กลับไปเป็นหนึ่ งเดียวกันอีกแล้วครับ หากมองจะอดีตโลกจะสงบก็ต่อเมื่ อมีผู้มีอำนาจสูงสุดเพียงคนเดี ยว แน่นอนครับ หลายปีที่ผ่ านมามหาอำนาจของโลกก็คือสหรั ฐอเมริกาเป็นเจ้าของระบบการเงิ นของโลกจนทำให้โลกต้องใช้ ดอลลาร์ในการแลกเปลี่ยนระหว่ างประเทศ แต่มาวันนี้เราเห็นขั้วอำนาจอย่ างจีนขึ้นมาท้าทายสหรัฐฯ ในแง่ของเศรษฐกิจถือว่าใหญ่มากๆ ถึงแม้ GDP จะยังไม่เท่าสหรัฐที่เป็นเบอร์ 1 ก็ตาม แต่อัตราการเติบโตของจีนเรี ยกได้ว่าสูงมากอย่างที่ไม่เคยมี ประเทศไหนทำได้มาก่อนตลอด 10 ปี ที่ผ่านมาจนทำให้เกิ ดสงครามการค้าจีน-สหรัฐฯขึ้น เนื่องจากสหรัฐฯเห็นถึงภัยคุ กคามต่อเงินดอลลาร์ คิดง่ายๆ สมมุติปล่อยให้จีนเติบโตแบบนี้ ต่อไปเรื่อยๆ
จีนจะกินส่วนแบ่งการค้าไปเรื่อย ถึงจุดนึงจีนคงสงสัยว่ าทำไมเราต้องใช้ดอลลาร์ ในการแลกเปลี่ยน? ในเมื่อทุกคนซื้อขายกับจีนเป็ นหลัก งั้นเรามาใช้หยวนแทนจะง่ายกว่ าไหม และนี่คือสิ่งที่สหรัฐไม่ต้ องการให้เกิดขึ้นมากที่สุด เพราะจะเป็นการลดความต้องการใช้ ดอลลาร์ หลายคนอาจจะยังไม่ทราบว่าแล้วมั นจะมีความสำคัญยังไง ความได้เปรียบของดอลลาร์ ในการเป็นสกุลเงินหลักของโลกแต่ เพียงผู้เดียวคือทำให้สหรั ฐฯสามารถพิมพ์เงินออกมาใช้ได้ เยอะมากๆ หรือจะบอกว่าพิมพ์เท่าไหร่ก็ได้ ก็ไม่ได้เป็นคำพูดที่ดูเกินเลย
ล่าสุดเราเห็นธนาคารในรัสเซี ยประกาศให้คนรัสเซี ยสามารถฝากเงินเป็นสกุลเงินหยวน และยิ่งไปกว่านั้นซาอุดีอาระเบี ยประกาศจะใช้เงินหยวนในการซื้ อขายน้ำมันแทนดอลลาร์ ถือเป็นพัฒนาการสำคัญที่สหรั ฐฯไม่อยากเห็น และนี่ถือเป็นจุดเริ่มต้ นของการประกาศสงครามระหว่ างหยวนกับดอลลาร์ อีกไม่นานเราคงเป็นการเคลื่ อนไหวของสหรัฐอย่างแน่นอน ความขัดแย้งระหว่างขั้วอำนาจทั้ ง 2 จะดำเนินต่อไป สิ่งที่จะตามมาในสภาวะแบบนี้ก็ คือเศรษฐกิจจะถดถอย รัฐบาลจะออกมาตรการกระตุ้ นเศรษฐกิจที่เข้มข้น เพื่อซื้ อใจประชาชนในยามยากลำบาก.
มาถึงตอนนี้เราได้ข้อสรุปแล้วว่ าแนวโน้มความขัดแย้งระหว่ างมหาอำนาจของโลกกำลังทวี ความเข้มข้นขึ้น การค้าจะไม่เสรี และจะทำให้เศรษฐกิจถดถอย รัฐจะต้องการใช้เงินจำนวนมากไม่ ว่าจะเพื่อการสงครามหรือเพื่ อกระตุ้นเศรษฐกิจก็ตาม ผลลัพธ์สุดท้ายคือการขาดดุ ลมหาศาลเมื่อเทียบกับ GDP และมันจะทำให้เฟดไม่สามารถขึ้ นดอกเบี้ยเพื่อสกัดเงินเฟ้อได้ จริงๆ สุดท้ายเงินเฟ้อจะพุ่งขึ้นอี กจากความขัดแย้งระหว่างประเทศ และในวันนั้นคาดว่าเฟ้อจะใช้ yield curve control หรือก็คือการตรึงอัตราดอกเบี้ ยเอาไว้นั้นเอง ในสภาวะที่เงินเฟ้อสู งและเศรษฐกิจถดถอย ที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคตอั นใกล้นี้ สินทรัพย์ที่ได้เปรียบคือ เงินสด(แต่ต้องกระจายถือหลายสกุ ลนะ เพราะสุดท้ายเราไม่รู้ว่ าใครจะเป็นผู้ชนะ แต่ตอนนี้น้ำหนักดอลลาร์ก็เป็ นต่ออยู่ดี), สินค้าโภคภัณฑ์พวกอาหารก็น่ าสนใจ, หุ้นที่ค้าขายอาหารถึงไม่ขึ้ นแต่มันก็ไม่ลงหากเกิดเหตุการณ์ ไม่คาดฝันจริงๆ และทองคำอันนี้แน่นอนอยู่แล้ วในระยะยาว หากนักลงทุนกระจายความเสี่ยงได้ เหมาะสม หากเกิดวิกฤติจริง พอร์ตเราจะไม่กระทบมาก ซึ่งจะเป็นโอกาสในการขายสินทรั พย์ปลอดภัย เพื่อเก็บสินทรัพย์เสี่ยงที่ กำลังลดราคากระหน่ำซัมเมอร์ เซลล์กัน
Intergold